Creative Thinking, Critical Thinking, Life Skills, การเลี้ยงลูก, วิธี... ทำให้เด็กคิด
Time in หรือ Time out?
Punishment (Negative Reinforcement)
ตีหรือไม่ตี?
Time in หรือ Time out?
ปัญหา Negative Reinforcement
-
เป็นเรื่องยากสำหรับพ่อแม่
-
สร้างแรงผลักดัน และอาจจะให้พัฒนาไปในเชิงลบได้
-
ถ้าไม่มีแบบแผนอาจมีผลต่อพฤติกรรมและนิสัยของเด็กๆ ได้ เช่น
-
สะสมเป็นความแค้น
-
เก็บกด
-
เสียความมั่นใจ
-
จะท้าทายพ่อแม่
การทำโทษด้วยการตี
ข้อดี
-
รวดเร็วทันใจ
-
ผลลัพธ์ที่เห็นชัดเจน ว่าได้ทำโทษ
ข้อเสีย
-
ได้ผลหรือเปล่าเพราะอาจจะสร้างบาดแผลในจิตใจให้ลูก หรือลูกอาจจะไม่ได้เรียนรู้ความผิดนั้นจริงๆ ได้ผลระยะสั้นๆ
-
ทำร้ายร่างกาย
-
อาจจะสร้างความรู้สึก หรือความทรงจำที่ไม่ดีกับลูกได้
-
มีอารมณ์กันทั้งสองฝ่าย
-
ลูกจะชินกับการลงโทษแบบนี้
ข้อแตกต่างระหว่าง Time In and Time Out
Time In นั้นพ่อแม่จะเข้าไปทำพร้อมพร้อมกับลูกในตอนนั้นเลย ส่วน
Time Out ลูกจะทำเพียงคนเดียวโดยมีพ่อแม่กำหนดเวลาที่ชัดเจนไว้ให้ตามอายุและช่วงวัย
Time In
ข้อดี
-
Support ในการรับมือกับปัญหา
-
สามารถให้คำแนะนำได้ตลอด ฝึกการคิดถามตอบและการวิเคราะห์ปัญหา
-
ส่งเสริมสายสัมพันธ์ที่ดี
ข้อเสีย
-
ใช้เวลาและความอดทนสูงสูง
-
อาจไม่ได้ผลกับเด็กๆ ที่กำลังโมโหแบบสุดๆ
-
อาจจะลำบากถ้าอยู่ในสถานที่ที่มีคนพลุกพล่าน
Time Out
ข้อดี
-
ฝึกการทบทวนการกระทำในสิ่งที่ ได้ทำผิด
-
สงบสติอารมณ์
-
หยุดกิริยาหรือการกระทำที่ไม่ดี
ข้อเสีย
-
ต้องใช้ความอดทนทั้งสองฝ่าย
-
ใช้เวลานาน
-
ใช้ไม่ได้กับทุกคน อายุมากขึ้นก็ใช้ไม่ได้ และเด็กๆ ที่มีสมาธิสั้น
-
ทำให้ลูกรู้สึก โดดเดี่ยวหรืออาจอับอายต่อหน้าคนอื่นได้
-
ถ้าทำไม่ถูกลูกอาจจะไม่ได้เรียนรู้อะไรเลย
ขั้นตอน
- ตั้งกฎว่าจะต้องได้รับ การลงโทษนี้เมื่อไหร่
- วางแผนเรื่องเวลาว่าต้องทำนานแค่ไหน
• ระยะเวลา อายุ /1 ปี
• สถานที่ สงบ อยู่คนเดียวแต่พ่อแม่ต้องมองเห็น
• สิ่งที่ต้องทำ นั่งนิ่งๆ ด้วยความสงบ และนั่งหันหลังเข้ามุม - เรานั่งกับลูกแบบสงบ
• ไม่เล่นมือถือ
• ไม่คุยกัน
• พูดคำเดียวว่า Calm Down เดี๋ยวเราค่อย - Debrief สิ่งที่เราทำผิด (คือ สิ่งที่พ่อแม่ต้องทำหลังจากการทำ time in และ time out)
• เทคนิคการสื่อสารแบบ SECRET
Short / Eye level / Clam / Ready/ Entertaining/ Time adapt
• คำถาม Debrief
1) รู้สึกอย่างไรบ้างตอนนี้
2) เกิดอะไรขึ้น
3) สิ่งที่ทำไปมีข้อดีอย่างไรบ้าง
4) คราวหน้าจะทำอย่างไรให้ดีขึ้นกว่าเดิม
• ถ้าลูกคิดไม่ออกสิ่งที่พ่อแม่ต้องทำคือใช้คำถามแบบปลายปิดช่วยในการถาม เช่น
การที่เราทำลายของเล่นของคนอื่นเจ้าของจะเสียใจไหม
• เน้นคำถามให้ลูกตอบโดยพ่อแม่ อาจจะไกด์เป็นแนวทางสิ่งสำคัญคือลูกต้องคิดเอง
• ต้องทำเรื่อยเรื่อย วันนี้ ถ้า ไม่ได้ พรุ่งนี้อาจจะพังอีก สิ่งที่ต้องทำคือการทำซ้ำๆบ่อยบ่อยไปเรื่อยเรื่อย
หากท่านไหนมีข้อสงสัย หรือ ทำแล้วไม่ได้อย่างที่หวัง ลองแวะมาพูดคุยกับพวกเราชาวอินสติ๊งค์ฯ
ได้ที่ อินสติ๊งค์ เลิร์นนิ่ง (insThink Learning)
โทร: 084 515 4151
Line: @insthink
facebook : insthinklearning